วันศุกร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554

Mobile Laser Scanning and Mobile Mapping System


ถ้าได้แบบนี้การเดินทางด้วยเครื่องมือ ที่ทันสมัยจะช่วยให้ความปลอดภัยในชีวิตดีขึ้น

China's space ambition soars


         Beijing (CNN) -- China on Thursday launched its first space laboratory module, marking another step upward for its space program. "We must soberly recognize that China's space-station technology is still in its initial stage, compared to those of the U.S. and Russia," said a commentary from the state-run Xinhua News Agency. "But the launch of Tiangong-1 is the beginning of China's efforts to narrow the gap." China-watchers agree. "The test reflects China's technological advances, funded by its rapid economic growth and facilitated by the military's ballistic missile program," says Taylor Fravel, associate professor at the Massachusetts Institute of Technology (MIT). The unmanned space-lab is an 8-ton module named Tiangong-1, or "Heavenly Palace." That's what the Chinese called outer space in ancient times. China launches unmanned space lab Tiangong-1 is designed to stay in space for two years and is expected to dock with an unmanned spacecraft in November. China launches first space docking mission The rendezvous next month will be the true test of the mission, experts say. "Docking is necessary for the development of a space station, which is China's long-term objective," says Fravel. China needs to master this docking technique to be able to build its own manned space station by around 2020. It also hopes to send a man to the moon and even explore Mars, bringing it in the same league as the United States as a superpower in space. For Beijing, this week's launch is more than a space mission. It is meant to boost national pride and prestige. "It is no coincidence that the launch of Tiangong-1 occurs just before October 1," says MIT's Fravel, referring to China's National Day holiday, when the People's Republic was officially established in 1949. "I am very proud of our space program," exudes a visitor at Beijing Planetarium. "Spending on the space program is very necessary to advance science and technology in our country," says another. The test reflects China's technological advances, funded by its rapid economic growth and facilitated by the military's ballistic missile program. Fravel Taylor, analyst China also hopes to reap other benefits. Space missions, experts say, spur technological and scientific breakthroughs in such fields as electronics, computer, engineering, materials and other industries. There are military and electronic-intelligence applications too. And of course, the economic dividends are lucrative. Glitch-less space launches are a publicity bonanza for China's satellite-launch industry, which is already a huge money-making business. China's modern-day space ambitions date back to 1970, when it catapulted the country's first satellite into orbit. I remember how over the years the Chinese proudly spoke of that breakthrough, bragging that the small space module even transmitted the revolutionary tune "East Is Red" as it circled the Earth. But hardly anyone considered China as a serious player in space exploration. Over the years, China has been catching up, pumping enormous sums of money and resources into research and training. "In the early 1990s, President Jiang Zemin gave the go-ahead for a manned space program and the decision set off a tremendous construction boom that was in some ways as impressive as NASA's buildup for the Apollo project in the 1960s," writes James Oberg in his book "China's Great Leap Upward". In 2003, China's first astronaut, Colonel Yang Liwei, orbited the Earth in a Chinese-made Shenzhou capsule before landing to a hero's welcome. Yang's voyage into space -- called "taikong" in Chinese -- gave birth to the new word "taikonaut." Only China, Russia and the United States have sent men into space. In 2004, I joined a group of journalists visiting the Jiuquan Space Center, where taikonaut Yang and the Tiangong-1 blasted off. It was the first time Chinese officials had allowed international journalists into the sprawling top-secret launch center. China's equivalent of Cape Canaveral is an unpretentious cluster of white buildings and towers, tucked in northwestern China's vast Gobi desert. We were forbidden from taking pictures of the command-and-control center but we were shown around the center's facilities, including the launch towers and silos, an Olympic-sized swimming pool and the taikonauts' austere apartments. Might the Chinese become the new space leaders of the 21st century? They just might. China is forging ahead to build its own space station, even though the costs would be enormous, while the U.S. and other space powers have apparently discarded that option. China is not part of the International Space Station (ISS), which currently orbits the Earth while space experts and astronauts conduct experiments in a range of fields, from physics to astronomy. The ISS is a consortium among NASA, Russia's RKA space agency, Japan's Aerospace Exploration Agency, the European Space Agency and the Canadian CSA. The ISS is expected to be phased out in the future. China is now on track to build its own space station. "This is not to say that China will never cooperate with others in space, but it would prefer to do so from a position of strength once it has developed a more capable and robust space program," says MIT's Fravel, who specializes in China's military affairs. Should China's competitors worry about its steady strides? "The U.S. should not be too worried, at least not yet," Fravel says. "Tiangong has been likened to the Gemini program conducted by the U.S. 50 years ago."

สนามโอลิมปิก 2012 ลอนดอนเกมส์ ใกล้เสร็จแล้ว

สนามอลป.2012ลอนดอนเกมส์ใกล้เสร็จแล้ว (ไอเอ็นเอ็น) สนามโอลิมปิกกรุงลอนดอนที่จะใช้ในพิธีเปิด และปิดการแข่งขันโอลิมปิก 2012 ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว ฝ่ายจัดการแข่งขันโอลิมปิก 2012 ได้เผยแพร่ภายถ่ายมุมสูงของสนามโอลิมปิกทางตะวันออกของกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษที่จะใช้ในพิธีเปิด-ปิด รวมไปถึงการแข่งขันกรีฑา แม้จะเหลือเวลาอีกเกือบ 1 ปีที่อังกฤษจะเป็นเจ้าภาพการจัดการแข่งขันโอลิมปิก ทั้งนี้ จากภาพแสดงให้เห็นว่าสนามโอลิมปิกมูลค่า 486 ล้านปอนด์ หรือประมาณ 24,300 ล้านบาทเกือบจะเสร็จสมบูรณ์แล้ว โดยสนามแห่งนี้ใช้เวลาก่อสร้างประมาณ 3 ปี และใช้งบประมาณการก่อสร้างต่ำกว่า ที่ประมาณการณ์ไว้ถึง 10 ล้านปอนด์ หรือประมาณ 500 ล้านบาท สำหรับสนามโอลิมปิกยังเหลือเพียงการเก็บรายละเอียดเพียงเล็กน้อยก็จะเสร็จสมบูรณ์พร้อมสำหรับการทดสอบสนามที่จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมปีหน้า

การติดตั้งปลั๊กอินบน QGIS

การติดตั้งปลั๊กอินบน QGIS


เป็นการติดตั้งฟังก์ชั่นเสริมโดยมีปลั๊กอินเพิ่มเติมจาก server ต่างๆที่ปล่อยใช้งานอยู่ทั่วโลกทั้งหมด 13 server


"แอปเปิล"ร่อนจดหมายเชิญสื่อมะกัน "ร่วมกิจกรรมไอโฟน" วันที่ 4 ต.ค.นี้

แอปเปิลส่งจดหมายเชิญให้แก่ผู้สื่อข่าวให้เดินทางไปยังสำนักงานใหญ่ที่เมืองคูเปอร์ติโน รัฐแคลิฟอร์เนีย ในสัปดาห์หน้า โดยระบุเพียงว่าเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับไอโฟน ในวันที่ 4 ต.ค. โดยจดหมายเชิญที่บริษัท แอปเปิล อิงค์ ส่งให้แก่ผู้สื่อข่าววานนี้ (27 ก.ย.) ไม่ได้กล่าวถึงรายละเอียดใดๆมากนัก โดยระบุแต่เพียงว่า "มาร่วมพูดคุยเกี่ยวกับไอโฟน" ซึ่งหลายฝ่ายชี้ว่าการออกคำเชิญเช่นนี้ แสดงถึงแนวโน้มที่เป็นไปได้ว่าแอปเปิลอาจกำลังจะเปิดตัวโทรศัพท์สมาร์โฟนรุ่นใหม่ ด้านนายอัล กอร์ อดีตรองประธานธิบดีสหรัฐฯ ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นหนึ่งในกรรมการของแอปเปิล เคยกล่าวไว้เมื่อเร็วๆนี้ว่า เขาเชื่อว่าไอโฟนรุ่นใหม่จะได้รับการเผยโฉมในเดือนตุลาคมนี้ กิจกรรมในวันที่ 4 ต.ค.นี้ จะเป็นการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ของแอปเปิลครั้งแรกนับตั้งแต่สตีฟ จ็อบส์ ลาออกจากตำแหน่งซีอีโอเมื่อวันที่ 24 สิงหาคมที่ผ่านมา และนับตั้งแต่นั้น ราคาหุ้นของแอปเปิลก็พุ่งขึ้นสู่จุดสูงสุด

เผยแบบแปลน บ้านลอยน้ำ แนวคิดจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ


สถานการณ์น้ำท่วมยังคงทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง และกำลังกระจายเข้าสู่ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ก่อให้เกิดความเสียหายนานับประการ ทั้งด้านทรัพย์สิน และด้านจิตใจ ทั้งนี้ทางกรมโยธาธิการและผังเมือง ได้ตระหนักถึงความสำคัญที่จะป้องกันภัยแก่ประชาชนดังกล่าว จึงได้ศึกษาหาข้อมูลทั้งจากในและต่างประเทศ เพื่อให้เตรียมรับมือสถานการณ์น้ำท่วมที่ยากจะแก้ไขในปัจจุบัน และบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนที่ประสบปัญหาดังกล่าว โดยเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2550 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จมายังกรมโยธาธิการและผังเมือง และได้พระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับ "บ้านลอยน้ำ" ดังนั้นทางกรมโยธาธิการและผังเมือง จึงได้นำเอาแนวคิดดังกล่าวมาปรับใช้จาก "บ้านลอยน้ำท่าขนอน" ซึ่งบ้านลอยน้ำท่าขนอน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่ได้รับการอนุรักษ์ไว้ในพื้นที่ โดยบ้านลอยน้ำนั้นมีลักษณะเป็นเรือนแพ ซึ่งในฤดูแล้งตัวบ้านจะตั้งอยู่บนพื้นดินตามปกติ แต่เมื่อถึงเวลาน้ำท่วม ตัวบ้านก็จะลอยขึ้นตามระดับน้ำ และมีการยึดตัวบ้านเอาไว้กับเสาหลักเพื่อป้องกับการโคลงตัว หรือลอยไปตามกระแสน้ำ จากนั้นพอเวลาน้ำลดลง บ้านก็จะกลับมาตั้งตัวอยู่บนพื้นดินเหมือนเดิม
สำหรับขนาดของบ้านลอยน้ำ การออกแบบนั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานของวัสดุที่มีขายอยู่ทั่วไปตามท้องตลาด ซึ่งหาซื้อได้ง่าย อีกทั้งยังก่อสร้างได้ง่ายด้วยเช่นกัน เนื่องจากมีโครงสร้างเป็นรูปแบบที่ไม่ซับซ้อน ชาวบ้านที่มีความรู้ด้านช่างในระดับทั่วไปก็สามารถก่อสร้างเองได้ ส่วนบ้านที่เห็นในภาพตัวอย่าง มีขนาดพื้นที่รวมประมาณ 60 ตารางเมตร ซึ่งเป็นขนาดที่ไม่ใหญ่มาก เพื่อความสะดวกในการก่อสร้างและการลอยน้ำ แต่หากมีความต้องการพื้นที่เพิ่มขึ้นก็อาจเชื่อมต่อหลายหลังเข้าด้วยกัน โดยใช้สะพานทางเชื่อมพาดระหว่างชานรอบตัวบ้าน ส่วนราคาค่าใช้จ่าย ถ้าสร้างเองจะมีราคาประมาณหลังละ 719,000 บาท แต่ถ้าหากจ้างเหมาราคา หลังละ 915,000 บาท เนื่องจากต้องมีการคิดค่าดำเนินการ กำไรและภาษีด้วย อย่างไรก็ตาม แบบบ้านลอยน้ำของกรมโยธาธิการและผังเมืองนี้ หวังว่าจะเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนที่ต้องอยู่อาศัยในพื้นที่ที่ประสบภัยได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่เป็นที่ลุ่ม ซึ่งอาจจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรูปแบบและพื้นที่ใช้สอยให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องต่อความต้องการต่อไป
ขนาดพื้นที่ ประมาณ 60 ตารางเมตรประกอบด้วยพื้นที่อยู่อาศัย 23 ตารางเมตร ส่วนทำอาหารห้องน้ำและซักล้าง รวม 37 ตารางเมตร ราคาค่าก่อสร้าง โดยประมาณ 719,000 บาท (กรณีปลูกสร้างเอง) ไม่ต้องใช้ผู้รับจ้างเหมาและประมาณ 915,000 บาท (กรณีมีผู้รับจ้างเหมา) วัสดุก่อสร้าง ใช้วัสดุก่อสร้างพื้นฐานทั่วไปที่สามารถหาได้ง่ายในท้องตลาด ซึ่งสามารถดัดแปลงได้ตามความเหมาะสมกับแต่ละพื้นที่ ทุ่นลอยเป็นถังน้ำมันขนาด 200 ลิตร หรือถังไฟเบอร์กลาสกรณีต้องการความทนทานเพิ่มขึ้น ระบบสุขาภิบาล ใช้ระบบการย่อยสลายโดยมีถังบรรจุจุลินทรีย์ EM ติดตั้งอยู่ใต้ห้องน้ำเพื่อย่อยสลายและเร่งการตกตะกอนของสิ่งปฎิกูล
หลังจากยักษ์ใหญ่ด้านเทคโนโลยีทั้งหลายต่างพากันพัฒนาแท็บเล็ตของตัวเองออกมาขายกันเกลื่อนตลาด โดยใช้ฟังก์ชันที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละเจ้าจูงใจลูกค้ากันแบบไม่มีใครยอมใคร ล่าสุด อเมซอน ผู้ผลิตอีบุ๊กหน้าเก่า ก็หันกลับมารุกตลาดแท็บเล็ตแล้ว ด้วยการเปิดตัว คินเดิ้ล ไฟร์ แท็บเล็ตขนาดเล็กตัวใหม่ พร้อมกับดึงดูดผู้บริโภคด้วยราคาที่ถูกกว่าไอแพดกว่าครึ่ง!! สำนักข่าวบีบีซีรายงานว่า เมื่อวันที่ 28 กันยายนที่ผ่านมา บริษัท อเมซอน ยักษ์ใหญ่ด้านธุรกิจออนไลน์ ได้เปิดตัวแท็บเล็ตตัวใหม่ คินเดิ้ล ไฟเออร์ (Kindle Fire) ออกมารุกตลาดแท็บเล็ตแล้ว ในฟังก์ชั่นที่คล้ายกันกับเจ้าแห่งแท็บเล็ตอย่างไอแพด แต่ราคาถูกกว่ากันถึงครึ่ง คือราว ๆ 7,000 บาท (ราคาขายในสหรัฐ) สำหรับฟังก์ชั่นของ คินเดิ้ล ไฟเออร์ ตัวนี้ ก็คล้าย ๆ กับแท็บเล็ตทั่ว ๆ ไป คือ สามารถดูหนังฟังเพลง เล่นเกม และเล่นอินเทอร์เน็ตได้ มาพร้อมกับหน้าจอทัชสกรีนขนาด 7 นิ้ว ระบบปฏิบัติการกูเกิ้ลแอนดรอยด์ เชื่อมต่อได้เฉพาะ wi-fi เท่านั้น ขนาดความจุ 8 GB อายุการใช้งานแบตเตอรี่สูงสุด 8 ชั่วโมง ไม่มีกล้องทั้งหน้าและหลัง และแน่นอนว่า ไม่สามารถเล่นวิดีโอคอลเหมือนกับไอแพดได้ แต่จะพิเศษตรงที่สามารถดูหนัง ฟังเพลง ดูรายการทีวี เล่นเกม โหลดแอพพลิเคชั่น อ่านอีบุ๊ก และแม็กกาซีนได้รวมแล้วกว่า 18 ล้านรายการ ผ่านทางเว็บไซต์ Amazon.com โดยรวมแล้วก็ถือว่าเหมาะกับผู้ใช้อีบุ๊กที่ไม่มีความจำเป็นต้องใช้งานกล้อง หรือวิดีโอคอล ก็ถือว่าราคาเอาใจผู้บริโภคพอสมควรล่ะ และหากจะเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียระหว่างคินเดิ้ลกับไอแพดแล้ว คินเดิ้ลตัวนี้มีดีที่ราคาถูกกว่า ความจุน้อยกว่า ขนาดเล็กกว่า เบากว่า และพกพาง่าย แต่ไอแพดนั้นดีไซน์จะสวยกว่า มีระบบปฏิบัติการที่สมูธกว่า และหน้าจอใหญ่กว่านั่นเอง อย่างไรก็ดี แม้ว่า คินเดิ้ล ไฟเออร์ จะมีคุณสมบัติโดยรวมที่เป็นรองไอแพดอยู่หลายอย่าง แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีคาดว่า ด้วยราคาที่ถูกแล้ว จะทำให้คินเดิ้ล ไฟเออร์ กลายมาเป็นคู่แข่งของไอแพดได้ไม่ยาก โดย คินเดิ้ล ไฟเออร์ จะมีกำหนดวางขายในสหรัฐฯ 15 พฤศจิกายนนี้

วันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554


คาดการณ์น้ำท่วม ระหว่างวันที่  27  กันยายน -  29  กันยายน 2554

วันศุกร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554

สภาพอากาศวันนี้

Select on Headlogo for other page
รายงานสภาวะอากาศ - อุตรดิตถ์ : อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ http://www.tmd.go.th รายงานสภาวะอากาศ โดย กรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร th-TH Copyright 2006,Thai Meteorological Department 20 รายงานสภาวะอากาศ - อุตรดิตถ์ : อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ วันที่ : 16/09/2011 เวลา 13:00 นาฬิกา 2011-09-16T13:00:00+07:00 48351 http://www.tmd.go.th/province.php?StationNumber=48351 
อุณหภูมิ : 31.5 องศาเซลเซียส
ความชื้นสัมพัทธ์ : 68 %
ความกดอากาศ : 1006.78 มิลลิบาร์
ทิศทางลม : ลมสงบ
ทัศนวิสัย : 13.0 กิโลเมตร
ลักษณะอากาศ : มีเมฆเป็นส่วนมาก
ฝนสะสมวันนี้ : 0.0 มิลลิเมตร 

วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2554

google kml

การเริ่มใช้งาน คำสั่งของ Google kml
โดยเราสามารถทำการปรับแต่งการแสดงข้อมูลจาก google map ได้
โดยเราสามารถเข้าไปทดลองใช้งานได้ที่เว็บ
http://kml-samples.googlecode.com/svn/trunk/interactive/index.html#./Touring/Touring.Animated_Updates.kml